Last updated: 19 ก.ย. 2567 | 302 จำนวนผู้เข้าชม |
องค์ประกอบของงบการเงิน
เกี่ยวข้องโดยตรงกับฐานะการเงิน
สินทรัพย์ (Assets)
หนี้สิน (Liabilities)
ส่วนของเจ้าของ (Equity)
เกี่ยวข้องโดยตรงกับผลการดำเนินงาน
ึค่าใช้จ่าย (Expenses)
ข้อสมมติ PAEs : การดำเนินงานต่อเนื่อง (Going Concern)
ข้อสมมติ NPAES : เกณฑ์คงค้าง และการดำเนินงานต่อเนื่อง
-การบัญชีตามเกณฑ์คงค้างแสดงผลกระทบของของรายการและ เหตุการณ์และสถานการณ์อื่นต่อทรัพยากยากรเชิงเศรษฐกิจและ สิทธิเรียกร้องของกิจการในงวดที่ผลกระทบเหล่านั้นเกิดขึ้น
- แม้ว่าเงินสดรับและจ่ายที่เป็นผลจากรายการ เหตุการณ์และสถานการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น ในรอบระยะเวลาที่ต่างกัน
องค์ประกอบของงบการเงิน
รายการ
สิทธิเรียกร้อง
ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ
องค์ประกอบ
สินทรัพย์
หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ
PAEs
ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ อยู่ในความควบคุมของกิจการอันเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต
ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ คือ สิทธิที่มีศักยภาพในการสร้างผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการที่จะโอนทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจอันเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต
ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินของกิจการทั้งหมด
NPAEs
ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของกิจการทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต
ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ซึ่งเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตโดยการชำระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้นออกแล้ว
10 สัญญาณ ความเสี่ยงธุรกิจ
สินทรัพย์
ใช้เงินสดเป็นหลัก
สินค้าคงเหลือไม่ถูกต้อง
ไม่มีทรัพย์สิน หรือมีทรัพย์สินมากผิดปกติ
หนี้สิน และทุน
เงินกู้ยืมกรรมการมากไม่สามารถชี้แจงได้
ขาดทุนสะสมเป็นเวลานาน
รายได้
บันทึกรายได้ไม่ถูกต้อง
บันทึกรายได้ไม่ครบถ้วน
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายเพิ่มแต่รายได้ลดลง
ค่าใช้จ่ายสูงเมื่อเทียบกับรายได้
สร้างค่าใช้จ่ายเท็จ
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
1. บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
2. บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
3. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
4. กิจการร่วมค้า
5. มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการมีรายได้
6. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
7. กองทุนรวมที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายฯ
การคำนวณกำไรสุทธิ CIT
รอบระยะเวลาบัญชี | ระยะเวลา 12 เดือน |
การยื่นแบบภาษีประจำปี | ภ.ง.ด. 50/ชำระภาษี 150 วัน |
การยื่นแบบภาษีครึ่งปี | ภ.ง.ด. 51/ชำระภาษี 2 เดือน |
เกณฑ์สิทธิ | ม.65 ว.2 และ ท.ป.1/2528 |
ฐานภาษี | กำไรสุทธิ (รายได้ - รายจ่าย) |
ม.65 ทวิ | เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิ |
ม.65 ตรี | รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่หักได้เพิ่มจากปกติ |
อัตราภาษี | ??? |
ภ.ง.ด. 50 : ความแตกต่าง/การปรับปรุง
การยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50 (รายการที่ 3)
กำไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ ตามบัญชีกำไรขาดทุน
บวก รายได้ที่ให้ถือเป็นรายได้ตามประมวลรัษฎากร
บวก รายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายได้ตามประมวลรัษฎากร
หัก ขาดทุนสุทธิที่มีสิทธิหักตามกฎหมาย
หัก รายได้รับยกเว้นภาษีเงินได้หรือรายจ่ายที่มีสิทธิทักได้เพิ่มขึ้น
บวก รายจ่ายการบริจาคส่วนที่เกินร้อยละ 2 หรือ 10 ของกำไรสุทธิ
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
(ก) ภาษีจากกำไรสุทธิ | ร้อยละ 20 |
(ข) ภาษีตาม ม.70 นอกจาก (ค) | ร้อยละ 15 |
(ค) ภาษีตาม ม.70 เฉพาะการจ่ายเงินได้ ม.40 (4) (ข) | ร้อยละ 10 |
(ง) ภาษีตาม ม.70 ทวิ | ร้อยละ 10 |
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของ SMEs
รอบระยะเวลาบัญชี | กำไรสุทธิ (บาท) | ยกเว้นภาษี/อัตราภาษี |
1 ม.ค. 2558 - 31 ธ.ค. 2558 | 1-300,000 >300,000 | ยกเว้น 10% |
1 ม.ค. 2559- 31 ธ.ค. 2559 | xxx | ยกเว้น |
1 ม.ค. 2560 - 31 ธ.ค. 2560 | 1-300,000 >300,000 | ยกเว้น 10% |
1 ม.ค. 2561 เป็นต้นไป | 1-300,000 >300,000-3,000,000 >3,000,000 | ยกเว้น 15% 20% |
TFRS for NPAEs บทที่ 7 ลูกหนี้
คำนิยาม
-ลูกค้าการค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่กิจการ
ได้ส่งใบแจ้งหนี้หรือได้ตกลงอย่างเป็นทางการกับผู้ซื้อ รายการดังกล่าวนี้อาจอยู่
ในรูปของตั๋วเงินรับ
ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ใช่ลูกหนี้การค้า เช่น ลูกหนี้และเงินให้กู้แก่
กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมอื่น เป็นต้น
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้องวัดมูลค่าภายหลัง
ด้วยมูลค่าที่จะได้รับ (ซึ่งหมายถึง มูลค่าหลังจากหักค่าเมื่อหนี้สงสัยจะสูญ)
TFRS for NPAEs บทที่ 7 ลูกหนี้
1. วิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสูญ มี 3 วิธี
วิธีอัตราร้อยละของยอดขายเชื่อสุทธิ
วิธีอัตราร้อยละของลูกหนี้ที่ค้างชำระจำแนกตามอายุของลูกหนี้
วิธีพิจารณาลูกหนี้เป็นแต่ละราย(ความสามารถในการชำระหนี้และจำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับชำระชำระจากลูกหนี้)
2.กิจการต้องรับรู้จำนวนหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ควบคู่กับการรับรู้ค่าเมื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งเป็นบัญชีปรับมูลค่าบัญชีลูกหนี้ ในงบฐานะการเงิน
เดบิต หนี้สงสัยจะสูญ (ค่าใช้จ่าย)
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ปรับมูลค่าลูกหนี้)
3. หากลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้เมื่อครบกำหนดแล้ว และกิจการได้มีการดำเนินการทวงถามหนี้จากลูกหนี้จนถึงที่สุดแล้ว และคาดหมายได้ค่อนข้างแน่นอนว่าจะไม่ได้รับชำระหนี้ ให้กิจการจำหน่ายลูกหนี้ออกจากบัญชี และปรับลดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เกี่ยวข้อง
เดบิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
เครดิต ลูกหนี้การค้า
TFRS for NPAEs บทที่ 7 ลูกหนี้
เพิ่มเรื่อง การรับรู้รายการหนี้สูญได้รับคืนเป็นรายได้อื่นๆ ในจบกำไรขาดทุน
4. หนี้สูญได้รับคืน
"7.8 หากลูกหนี้ที่กิจการตัดจำหน่ายไปแล้วกลับมาชำระหนี้ ให้แก่กิจการ ให้กิจการโอนกลับบัญชีลูกหนี้ และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เกี่ยวข้องด้วยจำนวนเงินที่ได้รับกลับคืน พร้อมบันทึกรายการรับชำระหนี้จากลูกหนี้ หรือกิจการสามารถเลือกบันทึกหนี้สูญได้รับคืนเป็นรายได้อื่นๆ ในงบกำไรขาดทุน ทั้งนี้ให้กิจการเปิดเผยในนโยบายการบัญชีสำหรับการบันทึกหนี้สูญได้รับคืน"
วิธีที่ 1
1. กลับรายการ
เดบิต ลูกหนี้การค้า
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
2. บันทึกรับชำระเงิน
เดบิต ธนาคาร
เครดิตลูกหนี้การค้า
วิธีที่ 2 (ทางเลือก)
บันทึกหนี้สูญได้รับคืน
เดบิต ธนาคาร
เครดิต รายได้จากหนี้สูญรับคืน
หลักการภาษี : หนี้สูญ
ม. 65 ทวิ (9) : การจำหน่ายหนี้สูญ
การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กำหนดโดยกฎกระทรวง แต่ถ้าได้รับชำระหนี้ในรอบระยะเวลาบัญชีใด
ให้นำมาคำนวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น
หนี้สูญรายใดใด้นำมาคำนาณเป็นรายได้แล้ว หากได้รับชำระในภายหลังก็มิให้นำมา
คำนวณเป็นรายได้อีก
ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)
แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 374 (พ.ศ. 2564)
ให้ใช้บังคับสำหรับการดำเนินการที่เริ่มในรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นตันไป
22 ต.ค. 2567
4 ต.ค. 2567
3 ต.ค. 2567
31 ต.ค. 2567